A President of TLAPS’s View of Logistics /1
A President of TLAPS’s View of Logistics /1
ผมในนามสมาคมไทยโลจิสติกส์และการผลิต (TLAPS) ต้องขอขอบคุณ Freight Max ที่ให้โอกาสกับสมาคมฯเขียนบทความด้านการบริหารระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน รวมถึงการบริหารการผลิต TLAPS ได้ก่อตั้งถึงปัจจุบันครบ 19 ปี ประกอบด้วยกรรมการบริหารสมาคมฯ ที่มีอาชีพและหน้าที่ความรับผิดชอบด้านการบริหารโลจิสติกส์และซัพพลายเชน รวมถึงการผลิตทั้งหมดล้วนมีประสบการณ์ตั้งแต่ 10 ถึง 30 ปี รวมถึงนักวิชาการที่มีชื่อเสียง ประกอบด้วยที่ปรึกษาสมาคมฯ ล้วนเป็นกูรูทางด้านโลจิสติกส์และซัพพลายยเชนทั้งสิ้น ประกอบกับสมาคมฯ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ได้ให้ความรู้และการทดสอบองค์ความรู้ของสถาบัน APICS (The American Production and Inventory control Society) USA ขณะนี้สมาคมได้จัดสอบ 2 หลักสูตรคือ CPIM ( Certified in Production and Inventory Management) แลCSCP( Certificate Supply Chain Professional) ซึ่งเป็นหลักสูตรวัดความรู้ความสามารถขององค์ความรู้ดังกล่าว และเป็นที่ยอมรับจากทั่วโลก
นอกจากกิจกรรมดังกล่าวที่สมาคมฯได้ดำเนินการมายาวนานแล้ว สมาคมฯมีภารกิจสำคัญๆดังนี้ TLAPS เป็นสมาคมวิชาชีพทางด้านการบริหารโลจิสติกส์ซัพพลายเชน และการผลิต ฉะนั้น TLAPS มีความมุ่งมั่นที่พัฒนาและยกขีดความสามารถของบุคลากรที่ทำงานอยู่ในปัจจุบันทั้งในภาคผลิต และอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ (Manufacturing Logisticและ Logistics Provider) รวมถึงการสร้างความร่วมมือกับภาคการสึกษาที่ผลิตบุคลากรใหม่เพื่อสร้างองค์ความรู้จาก Best Practices ต่างๆมาขยายผล เสริมสร้างความรู้และประสบการณ์หรือเตรียมความพร้อมที่จะเข้าปฏิบัติงานในองค์กรต่างๆอย่างมีประสิทธิภาพ
รวมไปถึงสร้างความร่วมมือกับภาครัฐ เช่น กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน เพื่อจัดทำมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ในกลุ่มงานโลจิสติกส์ (Logistics Industry ) ซึ่งจำนำมาเรียนให้ทุกท่านทราบในโอกาสต่อไป
จากวัตถุประสงค์ของสมาคมฯดังกล่าว จึงได้จัดตั้งคณะทำงานทรัพยากรบุคคลด้านโลจิสติกส์และการรองรับมาตรฐานวิชาชีพ(Human Resources Logistics & Professional Standard Accreditation) โดยมอบหมายให้คุณจำเรียงวัยวัฒน์ รองนายกสมาคมฯ รับผิดชอบโครงการดังกล่าวโดยมีวัตถุประสงค์และดำเนินการเรื่องสำคัญๆ เช่นการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนของสมาคมอย่างเป็นระบบ ตั้งแต่ระดับปกิบัติการ หัวหน้างาน และระดับผู้จัดการ ตลอดถึงผู้บริหารระดับสูง รวมถึงการสร้างกูรูเพื่อเตรียมความพร้อมในการแข่งขันโดยใช้ Model การขับเคลื่อน TLAPS Strategic Move โดยนำองค์ความรู้จาก APICS เป็นศูนย์กลางรวมถึงการจัดกลุ่มงานกรสัมมนา Human Resources Workforce Development Plan มี 6 หมวดวิชาและ 10 องค์ความรู้ต่อหมวด
ในโอกาสที่ผมรับผิดชอบในตำแหน่งนายกสมาคมฯ(ระหว่างปี 2554-2555)และมีประสบการณ์ในด้านการบริหารโลจิสติกส์ซัพพลายเชน และการผลิตในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม รวมระยะเวลา 36 ปี จาก 2 บริษัทฯ ในประเทสไทยจึงขออนุญาตผู้อ่านแลกเปลี่ยนและเสนอความเห้นจากประสบการ์ที่ได้ปฏิบัติงานในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมาดังนี้
จากความคิดเห็นส่วนตัวโลจิสติกส์ไม่ใช่เรื่องใหม่อะไรแต่มีมาพร้อม อุตสาหกรรมการผลิต ที่ต้องมีการรับสินค้า(วัตถุดิบ/ปัจจัยการผลิต)มาจัดเก็บควบคุมให้มีความพร้อมในการผลิต
ผมในนามสมาคมไทยโลจิสติกส์และการผลิต (TLAPS) ต้องขอขอบคุณ Freight Max ที่ให้โอกาสกับสมาคมฯเขียนบทความด้านการบริหารระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน รวมถึงการบริหารการผลิต TLAPS ได้ก่อตั้งถึงปัจจุบันครบ 19 ปี ประกอบด้วยกรรมการบริหารสมาคมฯ ที่มีอาชีพและหน้าที่ความรับผิดชอบด้านการบริหารโลจิสติกส์และซัพพลายเชน รวมถึงการผลิตทั้งหมดล้วนมีประสบการณ์ตั้งแต่ 10 ถึง 30 ปี รวมถึงนักวิชาการที่มีชื่อเสียง ประกอบด้วยที่ปรึกษาสมาคมฯ ล้วนเป็นกูรูทางด้านโลจิสติกส์และซัพพลายยเชนทั้งสิ้น ประกอบกับสมาคมฯ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ได้ให้ความรู้และการทดสอบองค์ความรู้ของสถาบัน APICS (The American Production and Inventory control Society) USA ขณะนี้สมาคมได้จัดสอบ 2 หลักสูตรคือ CPIM ( Certified in Production and Inventory Management) แลCSCP( Certificate Supply Chain Professional) ซึ่งเป็นหลักสูตรวัดความรู้ความสามารถขององค์ความรู้ดังกล่าว และเป็นที่ยอมรับจากทั่วโลก
นอกจากกิจกรรมดังกล่าวที่สมาคมฯได้ดำเนินการมายาวนานแล้ว สมาคมฯมีภารกิจสำคัญๆดังนี้ TLAPS เป็นสมาคมวิชาชีพทางด้านการบริหารโลจิสติกส์ซัพพลายเชน และการผลิต ฉะนั้น TLAPS มีความมุ่งมั่นที่พัฒนาและยกขีดความสามารถของบุคลากรที่ทำงานอยู่ในปัจจุบันทั้งในภาคผลิต และอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ (Manufacturing Logisticและ Logistics Provider) รวมถึงการสร้างความร่วมมือกับภาคการสึกษาที่ผลิตบุคลากรใหม่เพื่อสร้างองค์ความรู้จาก Best Practices ต่างๆมาขยายผล เสริมสร้างความรู้และประสบการณ์หรือเตรียมความพร้อมที่จะเข้าปฏิบัติงานในองค์กรต่างๆอย่างมีประสิทธิภาพ
รวมไปถึงสร้างความร่วมมือกับภาครัฐ เช่น กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน เพื่อจัดทำมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ในกลุ่มงานโลจิสติกส์ (Logistics Industry ) ซึ่งจำนำมาเรียนให้ทุกท่านทราบในโอกาสต่อไป
จากวัตถุประสงค์ของสมาคมฯดังกล่าว จึงได้จัดตั้งคณะทำงานทรัพยากรบุคคลด้านโลจิสติกส์และการรองรับมาตรฐานวิชาชีพ(Human Resources Logistics & Professional Standard Accreditation) โดยมอบหมายให้คุณจำเรียงวัยวัฒน์ รองนายกสมาคมฯ รับผิดชอบโครงการดังกล่าวโดยมีวัตถุประสงค์และดำเนินการเรื่องสำคัญๆ เช่นการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนของสมาคมอย่างเป็นระบบ ตั้งแต่ระดับปกิบัติการ หัวหน้างาน และระดับผู้จัดการ ตลอดถึงผู้บริหารระดับสูง รวมถึงการสร้างกูรูเพื่อเตรียมความพร้อมในการแข่งขันโดยใช้ Model การขับเคลื่อน TLAPS Strategic Move โดยนำองค์ความรู้จาก APICS เป็นศูนย์กลางรวมถึงการจัดกลุ่มงานกรสัมมนา Human Resources Workforce Development Plan มี 6 หมวดวิชาและ 10 องค์ความรู้ต่อหมวด
ในโอกาสที่ผมรับผิดชอบในตำแหน่งนายกสมาคมฯ(ระหว่างปี 2554-2555)และมีประสบการณ์ในด้านการบริหารโลจิสติกส์ซัพพลายเชน และการผลิตในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม รวมระยะเวลา 36 ปี จาก 2 บริษัทฯ ในประเทสไทยจึงขออนุญาตผู้อ่านแลกเปลี่ยนและเสนอความเห้นจากประสบการ์ที่ได้ปฏิบัติงานในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมาดังนี้
จากความคิดเห็นส่วนตัวโลจิสติกส์ไม่ใช่เรื่องใหม่อะไรแต่มีมาพร้อม อุตสาหกรรมการผลิต ที่ต้องมีการรับสินค้า(วัตถุดิบ/ปัจจัยการผลิต)มาจัดเก็บควบคุมให้มีความพร้อมในการผลิต
และการขายพร้อมจัดส่งและการกระจายส่งมอบให้ลูกค้าจากจุดเริ่มต้นไปถึงจุดผู้บริโภค ยกตัวอย่าง การผลิตเครื่องดื่ม เริ่มตั้งแต่ ชาวไร่อ้อยปลูกอ้อย จนถึงรถซาเล้งเก็บขวด กระป๋องเปล่าแล้วไป ขายให้โรงงานผลิต เช่น ผลิตขวดแก้ว หรือโรงงานผลิต ถัง กะละมัง ขันน้ำ จากตัวอย่างดังกล่าวมีให้เราเห็นมานานแล้ว หรือพร้อมๆกับอุตสาหกรรมการผลิตที่มีในโลกนี้
ทำไมเรา(ประเทสเรา) ได้เริ่มเขียนนโยบายในระดับประเทสทั้งๆที่ภาคเอกชนได้นำองค์ความรู้เหล่านี้มาใช้บริหารจัดการมานานแล้ว โดยเฉพาะบริษัทฯ ต่างชาติรวมถึงขณะนี้สถานศึกษา ได้เปิดสอนวิชาทางด้านโลจิสติกส์ ตั้งแต่ระดับ ปวช, ปวส, ปริญาตรี, โท และเอก ซึ่งเป็นการนำองค์ความรู้มือสองหรือมือสาม จากต่างประเทสมาสอนในภาคการศึกษาในบ้านเรา เนื่องจากเรายังขาดความสนใจอย่างจริงจัง ขาดองคืความรู้และประสบการณ์ที่ยังมีน้อยและยังไม่มากพอ จึงทำให้เห้นว่าในรอบ 15 ปี ทำให้เรื่องของโลจิสติกส์ซัพพลายเชนเป้นที่กล่าวถึงกันมากในปัจจุบัน
ผมยังยืนคำพูดเดิมว่าโลจิสติกส์ไม่ใช่เรื่องใหม่แล้วทำไมขณะนี้บ้านเราพูดกันมาก เรียนกันมากทั้งในภาครัฐและเอกชน จากประสบการและความเห็นส่วนตัวพอสรุปได้ดังนี้
1.คุณภาพสินค้า (Quality)
2.ค่าใช้จ่ายต่างๆ(Cost)
3.การส่งมอบ (Delivery)
จากแผนภาพดังกล่าว หากเรายังบริหารจัดการแบบเดิม (Silo Management)และยังไม่สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ดีกว่าคู่แข่งและยังมีความสูยปล่าวในกระบวนการต่างๆเช่น การส่งมอบ และเคลื่อนย้ายสินค้าทังภายในและนอกองค์กรอีกด้วย
จากการทำงานและบริหารระบบโลจิสติกส์แบบเดิมๆ จึงต้องนำแนวคิดแบบบูรณาการ(Integration)นั้นเอง เนื้อแท้แล้วกิจกรรมโลจิสติกส์แต่ละกิจกรรมมีความขัดแย้งกันในตัวอยู่แล้วเช่น
1.คนจัดซื้อต้องวื้อครั้งละมากๆ เพื่อราคาต่อหน่วยจะถูกลง
2. คนผลิตต้องผลิต Lot Size ใหญ่ๆ ครั้งละมากๆทำให้ต้นทุนต่อหน่วยถุกลง
3.คนขนส่งสินค้า ต้องขนส่งคราวละมากๆ ต้นทุนขนส่งต่อหน่วยถูกลง
4.คนคลังสินค้า ต้องควบคุมการจัดเก็บสินค้าในปริมาณที่น้อยๆลดการสูญเสียและ Carrying Cost Warehouse Cost ลง
5.ในขณะเดียวกันลูกค้าต้องการสินค้าครังละน้อยๆและให้ส่งบ่อยๆสั่งช่วงเช้าต้องการสินค้าตอนเย็น
จากสิ่งที่ผมกล่าวมาทั้งหมดรวมถึงปัจจัย 5 ประการ ของการบริหารระบบโลจิสติกส์ที่ขัดกันในตัวเอง การบริหารดลจิสติกสืจึงต้องมองภาพรวมหากเป็นค่าใช้จ่ายก็ต้องมองหรือพิจารณาในมิติ Total Cost ฉะนั้นการบูรณาการจากปัจจัยต่างให้เกิดความสมดุลจึงเป็นความสำคัญต่อความสำเร็จขององค์กร และการแข่งขันของประเทศครับ
**********************
ละการขายพร้อมจัดส่งและการกระจายส่งมอบให้ลูกค้าจากจุดเริ่มต้นไปถึงจุดผู้บริโภค ยกตัวอย่าง การผลิตเครื่องดื่ม เริ่มตั้งแต่ ชาวไร่อ้อยปลูกอ้อย จนถึงรถซาเล้งเก็บขวด กระป๋องเปล่าแล้วไป ขายให้โรงงานผลิต เช่น ผลิตขวดแก้ว หรือโรงงานผลิต ถัง กะละมัง ขันน้ำ จากตัวอย่างดังกล่าวมีให้เราเห็นมานานแล้ว หรือพร้อมๆกับอุตสาหกรรมการผลิตที่มีในโลกนี้
ทำไมเรา(ประเทสเรา) ได้เริ่มเขียนนโยบายในระดับประเทสทั้งๆที่ภาคเอกชนได้นำองค์ความรู้เหล่านี้มาใช้บริหารจัดการมานานแล้ว โดยเฉพาะบริษัทฯ ต่างชาติรวมถึงขณะนี้สถานศึกษา ได้เปิดสอนวิชาทางด้านโลจิสติกส์ ตั้งแต่ระดับ ปวช, ปวส, ปริญาตรี, โท และเอก ซึ่งเป็นการนำองค์ความรู้มือสองหรือมือสาม จากต่างประเทสมาสอนในภาคการศึกษาในบ้านเรา เนื่องจากเรายังขาดความสนใจอย่างจริงจัง ขาดองคืความรู้และประสบการณ์ที่ยังมีน้อยและยังไม่มากพอ จึงทำให้เห้นว่าในรอบ 15 ปี ทำให้เรื่องของโลจิสติกส์ซัพพลายเชนเป้นที่กล่าวถึงกันมากในปัจจุบัน
ผมยังยืนคำพูดเดิมว่าโลจิสติกส์ไม่ใช่เรื่องใหม่แล้วทำไมขณะนี้บ้านเราพูดกันมาก เรียนกันมากทั้งในภาครัฐและเอกชน จากประสบการและความเห็นส่วนตัวพอสรุปได้ดังนี้
องค์กรที่จะอยุ่รอดได้ ไม่ใช่ขายเก่งอย่างเดียว (ขายแล้วไม่มีกำไร เก็บเงินไม่ได้) แต่ต้องเก่งเรื่องการบริหารต้นทุ่นอย่างมีประสิทธิภาพด้วย เช่นขณะนี้มีการจัดการเรียนการสอนและพดกันมากเรื่อง TPS (Toyota Productions System) หรือ Lean Management ก็เพื่อลดความสูญปล่าวในกระบวนการต่างๆภายในองค์กรนั้นเองเมื่อมีปัจจัยหรือผลกระทบต่อโลกของการแข่งขันทางธุรกิจดังกล่าวแล้ว ซึ่งมีมิติในการปรับปรุงพัมนาองค์กรในด้านต่างๆเช่น
1.คุณภาพสินค้า (Quality)
2.ค่าใช้จ่ายต่างๆ(Cost)
3.การส่งมอบ (Delivery)
จากแผนภาพดังกล่าว หากเรายังบริหารจัดการแบบเดิม (Silo Management)และยังไม่สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ดีกว่าคู่แข่งและยังมีความสูยปล่าวในกระบวนการต่างๆเช่น การส่งมอบ และเคลื่อนย้ายสินค้าทังภายในและนอกองค์กรอีกด้วย
จากการทำงานและบริหารระบบโลจิสติกส์แบบเดิมๆ จึงต้องนำแนวคิดแบบบูรณาการ(Integration)นั้นเอง เนื้อแท้แล้วกิจกรรมโลจิสติกส์แต่ละกิจกรรมมีความขัดแย้งกันในตัวอยู่แล้วเช่น
1.คนจัดซื้อต้องวื้อครั้งละมากๆ เพื่อราคาต่อหน่วยจะถูกลง
2. คนผลิตต้องผลิต Lot Size ใหญ่ๆ ครั้งละมากๆทำให้ต้นทุนต่อหน่วยถุกลง
3.คนขนส่งสินค้า ต้องขนส่งคราวละมากๆ ต้นทุนขนส่งต่อหน่วยถูกลง
4.คนคลังสินค้า ต้องควบคุมการจัดเก็บสินค้าในปริมาณที่น้อยๆลดการสูญเสียและ Carrying Cost Warehouse Cost ลง
5.ในขณะเดียวกันลูกค้าต้องการสินค้าครังละน้อยๆและให้ส่งบ่อยๆสั่งช่วงเช้าต้องการสินค้าตอนเย็น
จากสิ่งที่ผมกล่าวมาทั้งหมดรวมถึงปัจจัย 5 ประการ ของการบริหารระบบโลจิสติกส์ที่ขัดกันในตัวเอง การบริหารดลจิสติกสืจึงต้องมองภาพรวมหากเป็นค่าใช้จ่ายก็ต้องมองหรือพิจารณาในมิติ Total Cost ฉะนั้นการบูรณาการจากปัจจัยต่างให้เกิดความสมดุลจึงเป็นความสำคัญต่อความสำเร็จขององค์กร และการแข่งขันของประเทศครับ
**********************
นอกจากกิจกรรมดังกล่าวที่สมาคมฯได้ดำเนินการมายาวนานแล้ว สมาคมฯมีภารกิจสำคัญๆดังนี้ TLAPS เป็นสมาคมวิชาชีพทางด้านการบริหารโลจิสติกส์ซัพพลายเชน และการผลิต ฉะนั้น TLAPS มีความมุ่งมั่นที่พัฒนาและยกขีดความสามารถของบุคลากรที่ทำงานอยู่ในปัจจุบันทั้งในภาคผลิต และอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ (Manufacturing Logisticและ Logistics Provider) รวมถึงการสร้างความร่วมมือกับภาคการสึกษาที่ผลิตบุคลากรใหม่เพื่อสร้างองค์ความรู้จาก Best Practices ต่างๆมาขยายผล เสริมสร้างความรู้และประสบการณ์หรือเตรียมความพร้อมที่จะเข้าปฏิบัติงานในองค์กรต่างๆอย่างมีประสิทธิภาพ
รวมไปถึงสร้างความร่วมมือกับภาครัฐ เช่น กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน เพื่อจัดทำมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ในกลุ่มงานโลจิสติกส์ (Logistics Industry ) ซึ่งจำนำมาเรียนให้ทุกท่านทราบในโอกาสต่อไป
จากวัตถุประสงค์ของสมาคมฯดังกล่าว จึงได้จัดตั้งคณะทำงานทรัพยากรบุคคลด้านโลจิสติกส์และการรองรับมาตรฐานวิชาชีพ(Human Resources Logistics & Professional Standard Accreditation) โดยมอบหมายให้คุณจำเรียงวัยวัฒน์ รองนายกสมาคมฯ รับผิดชอบโครงการดังกล่าวโดยมีวัตถุประสงค์และดำเนินการเรื่องสำคัญๆ เช่นการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนของสมาคมอย่างเป็นระบบ ตั้งแต่ระดับปกิบัติการ หัวหน้างาน และระดับผู้จัดการ ตลอดถึงผู้บริหารระดับสูง รวมถึงการสร้างกูรูเพื่อเตรียมความพร้อมในการแข่งขันโดยใช้ Model การขับเคลื่อน TLAPS Strategic Move โดยนำองค์ความรู้จาก APICS เป็นศูนย์กลางรวมถึงการจัดกลุ่มงานกรสัมมนา Human Resources Workforce Development Plan มี 6 หมวดวิชาและ 10 องค์ความรู้ต่อหมวด
ในโอกาสที่ผมรับผิดชอบในตำแหน่งนายกสมาคมฯ(ระหว่างปี 2554-2555)และมีประสบการณ์ในด้านการบริหารโลจิสติกส์ซัพพลายเชน และการผลิตในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม รวมระยะเวลา 36 ปี จาก 2 บริษัทฯ ในประเทสไทยจึงขออนุญาตผู้อ่านแลกเปลี่ยนและเสนอความเห้นจากประสบการ์ที่ได้ปฏิบัติงานในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมาดังนี้
จากความคิดเห็นส่วนตัวโลจิสติกส์ไม่ใช่เรื่องใหม่อะไรแต่มีมาพร้อม อุตสาหกรรมการผลิต ที่ต้องมีการรับสินค้า(วัตถุดิบ/ปัจจัยการผลิต)มาจัดเก็บควบคุมให้มีความพร้อมในการผลิต
ผมในนามสมาคมไทยโลจิสติกส์และการผลิต (TLAPS) ต้องขอขอบคุณ Freight Max ที่ให้โอกาสกับสมาคมฯเขียนบทความด้านการบริหารระบบโลจิสติกส์และซัพพลายเชน รวมถึงการบริหารการผลิต TLAPS ได้ก่อตั้งถึงปัจจุบันครบ 19 ปี ประกอบด้วยกรรมการบริหารสมาคมฯ ที่มีอาชีพและหน้าที่ความรับผิดชอบด้านการบริหารโลจิสติกส์และซัพพลายเชน รวมถึงการผลิตทั้งหมดล้วนมีประสบการณ์ตั้งแต่ 10 ถึง 30 ปี รวมถึงนักวิชาการที่มีชื่อเสียง ประกอบด้วยที่ปรึกษาสมาคมฯ ล้วนเป็นกูรูทางด้านโลจิสติกส์และซัพพลายยเชนทั้งสิ้น ประกอบกับสมาคมฯ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ได้ให้ความรู้และการทดสอบองค์ความรู้ของสถาบัน APICS (The American Production and Inventory control Society) USA ขณะนี้สมาคมได้จัดสอบ 2 หลักสูตรคือ CPIM ( Certified in Production and Inventory Management) แลCSCP( Certificate Supply Chain Professional) ซึ่งเป็นหลักสูตรวัดความรู้ความสามารถขององค์ความรู้ดังกล่าว และเป็นที่ยอมรับจากทั่วโลก
นอกจากกิจกรรมดังกล่าวที่สมาคมฯได้ดำเนินการมายาวนานแล้ว สมาคมฯมีภารกิจสำคัญๆดังนี้ TLAPS เป็นสมาคมวิชาชีพทางด้านการบริหารโลจิสติกส์ซัพพลายเชน และการผลิต ฉะนั้น TLAPS มีความมุ่งมั่นที่พัฒนาและยกขีดความสามารถของบุคลากรที่ทำงานอยู่ในปัจจุบันทั้งในภาคผลิต และอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ (Manufacturing Logisticและ Logistics Provider) รวมถึงการสร้างความร่วมมือกับภาคการสึกษาที่ผลิตบุคลากรใหม่เพื่อสร้างองค์ความรู้จาก Best Practices ต่างๆมาขยายผล เสริมสร้างความรู้และประสบการณ์หรือเตรียมความพร้อมที่จะเข้าปฏิบัติงานในองค์กรต่างๆอย่างมีประสิทธิภาพ
รวมไปถึงสร้างความร่วมมือกับภาครัฐ เช่น กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน เพื่อจัดทำมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ในกลุ่มงานโลจิสติกส์ (Logistics Industry ) ซึ่งจำนำมาเรียนให้ทุกท่านทราบในโอกาสต่อไป
จากวัตถุประสงค์ของสมาคมฯดังกล่าว จึงได้จัดตั้งคณะทำงานทรัพยากรบุคคลด้านโลจิสติกส์และการรองรับมาตรฐานวิชาชีพ(Human Resources Logistics & Professional Standard Accreditation) โดยมอบหมายให้คุณจำเรียงวัยวัฒน์ รองนายกสมาคมฯ รับผิดชอบโครงการดังกล่าวโดยมีวัตถุประสงค์และดำเนินการเรื่องสำคัญๆ เช่นการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนของสมาคมอย่างเป็นระบบ ตั้งแต่ระดับปกิบัติการ หัวหน้างาน และระดับผู้จัดการ ตลอดถึงผู้บริหารระดับสูง รวมถึงการสร้างกูรูเพื่อเตรียมความพร้อมในการแข่งขันโดยใช้ Model การขับเคลื่อน TLAPS Strategic Move โดยนำองค์ความรู้จาก APICS เป็นศูนย์กลางรวมถึงการจัดกลุ่มงานกรสัมมนา Human Resources Workforce Development Plan มี 6 หมวดวิชาและ 10 องค์ความรู้ต่อหมวด
ในโอกาสที่ผมรับผิดชอบในตำแหน่งนายกสมาคมฯ(ระหว่างปี 2554-2555)และมีประสบการณ์ในด้านการบริหารโลจิสติกส์ซัพพลายเชน และการผลิตในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม รวมระยะเวลา 36 ปี จาก 2 บริษัทฯ ในประเทสไทยจึงขออนุญาตผู้อ่านแลกเปลี่ยนและเสนอความเห้นจากประสบการ์ที่ได้ปฏิบัติงานในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมาดังนี้
จากความคิดเห็นส่วนตัวโลจิสติกส์ไม่ใช่เรื่องใหม่อะไรแต่มีมาพร้อม อุตสาหกรรมการผลิต ที่ต้องมีการรับสินค้า(วัตถุดิบ/ปัจจัยการผลิต)มาจัดเก็บควบคุมให้มีความพร้อมในการผลิต
และการขายพร้อมจัดส่งและการกระจายส่งมอบให้ลูกค้าจากจุดเริ่มต้นไปถึงจุดผู้บริโภค ยกตัวอย่าง การผลิตเครื่องดื่ม เริ่มตั้งแต่ ชาวไร่อ้อยปลูกอ้อย จนถึงรถซาเล้งเก็บขวด กระป๋องเปล่าแล้วไป ขายให้โรงงานผลิต เช่น ผลิตขวดแก้ว หรือโรงงานผลิต ถัง กะละมัง ขันน้ำ จากตัวอย่างดังกล่าวมีให้เราเห็นมานานแล้ว หรือพร้อมๆกับอุตสาหกรรมการผลิตที่มีในโลกนี้
ทำไมเรา(ประเทสเรา) ได้เริ่มเขียนนโยบายในระดับประเทสทั้งๆที่ภาคเอกชนได้นำองค์ความรู้เหล่านี้มาใช้บริหารจัดการมานานแล้ว โดยเฉพาะบริษัทฯ ต่างชาติรวมถึงขณะนี้สถานศึกษา ได้เปิดสอนวิชาทางด้านโลจิสติกส์ ตั้งแต่ระดับ ปวช, ปวส, ปริญาตรี, โท และเอก ซึ่งเป็นการนำองค์ความรู้มือสองหรือมือสาม จากต่างประเทสมาสอนในภาคการศึกษาในบ้านเรา เนื่องจากเรายังขาดความสนใจอย่างจริงจัง ขาดองคืความรู้และประสบการณ์ที่ยังมีน้อยและยังไม่มากพอ จึงทำให้เห้นว่าในรอบ 15 ปี ทำให้เรื่องของโลจิสติกส์ซัพพลายเชนเป้นที่กล่าวถึงกันมากในปัจจุบัน
ผมยังยืนคำพูดเดิมว่าโลจิสติกส์ไม่ใช่เรื่องใหม่แล้วทำไมขณะนี้บ้านเราพูดกันมาก เรียนกันมากทั้งในภาครัฐและเอกชน จากประสบการและความเห็นส่วนตัวพอสรุปได้ดังนี้
- ธุรกิจทั้งภาคผลิต บริการ มีการแข่งขันทั้งในและนอกประเทศสูงมาก และสูงขึ้นเรื่อยๆ เช่น กรณีในปี 2558 เริ่มเกิด AEC เต็มรูปแบบ
- ความต้องการ ความคาดหวังของลูกค้าต่อสินค้าและบริการสุงมากและเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว
- ในโลกของการแข่งขัน นอกจากต้องผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ ต้องมีราคาที่ยอมรับได้(สมเหตุสมผล) และส่งมอบอย่างรวดเร็วและทุกที่ภายในโลกนี้
- จากปัจจัย 3ประการดังกล่าวจาการปรับการขึ้นราคาสินค้าและบริการเป้นเรื่องที่ยากมาก ฉะนั้น ถ้าธุรกิจจะอยู่รอดได้ต้องหันมาดูแลเรื่องบริหารจัดการในทุกกระบวนการภายในองคืกร ในอดีตเราจะแข่งขันกันระหว่างตราสินค้าหรือยี่ห้อ แต่ปัจจุบันเราแข่งขันกันระหว่างองค์กรกับองค์กรครับ
1.คุณภาพสินค้า (Quality)
2.ค่าใช้จ่ายต่างๆ(Cost)
3.การส่งมอบ (Delivery)
จากแผนภาพดังกล่าว หากเรายังบริหารจัดการแบบเดิม (Silo Management)และยังไม่สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ดีกว่าคู่แข่งและยังมีความสูยปล่าวในกระบวนการต่างๆเช่น การส่งมอบ และเคลื่อนย้ายสินค้าทังภายในและนอกองค์กรอีกด้วย
จากการทำงานและบริหารระบบโลจิสติกส์แบบเดิมๆ จึงต้องนำแนวคิดแบบบูรณาการ(Integration)นั้นเอง เนื้อแท้แล้วกิจกรรมโลจิสติกส์แต่ละกิจกรรมมีความขัดแย้งกันในตัวอยู่แล้วเช่น
1.คนจัดซื้อต้องวื้อครั้งละมากๆ เพื่อราคาต่อหน่วยจะถูกลง
2. คนผลิตต้องผลิต Lot Size ใหญ่ๆ ครั้งละมากๆทำให้ต้นทุนต่อหน่วยถุกลง
3.คนขนส่งสินค้า ต้องขนส่งคราวละมากๆ ต้นทุนขนส่งต่อหน่วยถูกลง
4.คนคลังสินค้า ต้องควบคุมการจัดเก็บสินค้าในปริมาณที่น้อยๆลดการสูญเสียและ Carrying Cost Warehouse Cost ลง
5.ในขณะเดียวกันลูกค้าต้องการสินค้าครังละน้อยๆและให้ส่งบ่อยๆสั่งช่วงเช้าต้องการสินค้าตอนเย็น
จากสิ่งที่ผมกล่าวมาทั้งหมดรวมถึงปัจจัย 5 ประการ ของการบริหารระบบโลจิสติกส์ที่ขัดกันในตัวเอง การบริหารดลจิสติกสืจึงต้องมองภาพรวมหากเป็นค่าใช้จ่ายก็ต้องมองหรือพิจารณาในมิติ Total Cost ฉะนั้นการบูรณาการจากปัจจัยต่างให้เกิดความสมดุลจึงเป็นความสำคัญต่อความสำเร็จขององค์กร และการแข่งขันของประเทศครับ
**********************
ละการขายพร้อมจัดส่งและการกระจายส่งมอบให้ลูกค้าจากจุดเริ่มต้นไปถึงจุดผู้บริโภค ยกตัวอย่าง การผลิตเครื่องดื่ม เริ่มตั้งแต่ ชาวไร่อ้อยปลูกอ้อย จนถึงรถซาเล้งเก็บขวด กระป๋องเปล่าแล้วไป ขายให้โรงงานผลิต เช่น ผลิตขวดแก้ว หรือโรงงานผลิต ถัง กะละมัง ขันน้ำ จากตัวอย่างดังกล่าวมีให้เราเห็นมานานแล้ว หรือพร้อมๆกับอุตสาหกรรมการผลิตที่มีในโลกนี้
ทำไมเรา(ประเทสเรา) ได้เริ่มเขียนนโยบายในระดับประเทสทั้งๆที่ภาคเอกชนได้นำองค์ความรู้เหล่านี้มาใช้บริหารจัดการมานานแล้ว โดยเฉพาะบริษัทฯ ต่างชาติรวมถึงขณะนี้สถานศึกษา ได้เปิดสอนวิชาทางด้านโลจิสติกส์ ตั้งแต่ระดับ ปวช, ปวส, ปริญาตรี, โท และเอก ซึ่งเป็นการนำองค์ความรู้มือสองหรือมือสาม จากต่างประเทสมาสอนในภาคการศึกษาในบ้านเรา เนื่องจากเรายังขาดความสนใจอย่างจริงจัง ขาดองคืความรู้และประสบการณ์ที่ยังมีน้อยและยังไม่มากพอ จึงทำให้เห้นว่าในรอบ 15 ปี ทำให้เรื่องของโลจิสติกส์ซัพพลายเชนเป้นที่กล่าวถึงกันมากในปัจจุบัน
ผมยังยืนคำพูดเดิมว่าโลจิสติกส์ไม่ใช่เรื่องใหม่แล้วทำไมขณะนี้บ้านเราพูดกันมาก เรียนกันมากทั้งในภาครัฐและเอกชน จากประสบการและความเห็นส่วนตัวพอสรุปได้ดังนี้
- ธุรกิจทั้งภาคผลิต บริการ มีการแข่งขันทั้งในและนอกประเทศสูงมาก และสูงขึ้นเรื่อยๆ เช่น กรณีในปี 2558 เริ่มเกิด AEC เต็มรูปแบบ
- ความต้องการ ความคาดหวังของลูกค้าต่อสินค้าและบริการสุงมากและเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว
- ในโลกของการแข่งขัน นอกจากต้องผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ ต้องมีราคาที่ยอมรับได้(สมเหตุสมผล) และส่งมอบอย่างรวดเร็วและทุกที่ภายในโลกนี้
- จากปัจจัย 3ประการดังกล่าวจาการปรับการขึ้นราคาสินค้าและบริการเป้นเรื่องที่ยากมาก ฉะนั้น ถ้าธุรกิจจะอยู่รอดได้ต้องหันมาดูแลเรื่องบริหารจัดการในทุกกระบวนการภายในองคืกร ในอดีตเราจะแข่งขันกันระหว่างตราสินค้าหรือยี่ห้อ แต่ปัจจุบันเราแข่งขันกันระหว่างองค์กรกับองค์กรครับ
องค์กรที่จะอยุ่รอดได้ ไม่ใช่ขายเก่งอย่างเดียว (ขายแล้วไม่มีกำไร เก็บเงินไม่ได้) แต่ต้องเก่งเรื่องการบริหารต้นทุ่นอย่างมีประสิทธิภาพด้วย เช่นขณะนี้มีการจัดการเรียนการสอนและพดกันมากเรื่อง TPS (Toyota Productions System) หรือ Lean Management ก็เพื่อลดความสูญปล่าวในกระบวนการต่างๆภายในองค์กรนั้นเองเมื่อมีปัจจัยหรือผลกระทบต่อโลกของการแข่งขันทางธุรกิจดังกล่าวแล้ว ซึ่งมีมิติในการปรับปรุงพัมนาองค์กรในด้านต่างๆเช่น
1.คุณภาพสินค้า (Quality)
2.ค่าใช้จ่ายต่างๆ(Cost)
3.การส่งมอบ (Delivery)
จากแผนภาพดังกล่าว หากเรายังบริหารจัดการแบบเดิม (Silo Management)และยังไม่สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ดีกว่าคู่แข่งและยังมีความสูยปล่าวในกระบวนการต่างๆเช่น การส่งมอบ และเคลื่อนย้ายสินค้าทังภายในและนอกองค์กรอีกด้วย
จากการทำงานและบริหารระบบโลจิสติกส์แบบเดิมๆ จึงต้องนำแนวคิดแบบบูรณาการ(Integration)นั้นเอง เนื้อแท้แล้วกิจกรรมโลจิสติกส์แต่ละกิจกรรมมีความขัดแย้งกันในตัวอยู่แล้วเช่น
1.คนจัดซื้อต้องวื้อครั้งละมากๆ เพื่อราคาต่อหน่วยจะถูกลง
2. คนผลิตต้องผลิต Lot Size ใหญ่ๆ ครั้งละมากๆทำให้ต้นทุนต่อหน่วยถุกลง
3.คนขนส่งสินค้า ต้องขนส่งคราวละมากๆ ต้นทุนขนส่งต่อหน่วยถูกลง
4.คนคลังสินค้า ต้องควบคุมการจัดเก็บสินค้าในปริมาณที่น้อยๆลดการสูญเสียและ Carrying Cost Warehouse Cost ลง
5.ในขณะเดียวกันลูกค้าต้องการสินค้าครังละน้อยๆและให้ส่งบ่อยๆสั่งช่วงเช้าต้องการสินค้าตอนเย็น
จากสิ่งที่ผมกล่าวมาทั้งหมดรวมถึงปัจจัย 5 ประการ ของการบริหารระบบโลจิสติกส์ที่ขัดกันในตัวเอง การบริหารดลจิสติกสืจึงต้องมองภาพรวมหากเป็นค่าใช้จ่ายก็ต้องมองหรือพิจารณาในมิติ Total Cost ฉะนั้นการบูรณาการจากปัจจัยต่างให้เกิดความสมดุลจึงเป็นความสำคัญต่อความสำเร็จขององค์กร และการแข่งขันของประเทศครับ
**********************